ด้วงสาคู for Dummies
ด้วงสาคู for Dummies
Blog Article
Your browser isn’t supported any more. Update it to get the most effective YouTube expertise and our hottest functions. Find out more
Your browser isn’t supported anymore. Update it to get the greatest YouTube encounter and our most up-to-date attributes. Find out more
เตือนภัยชาวสวนปาล์มระวังหนอนปลอกเล็กระบาด
ด้วงสาคูหรือด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงลานหรือแมงหวังเป็นด้วงชนิดเดียวกัน แต่ชื่อที่เรียกแตกต่างกันขึ้นอยู่กับว่าเลี้ยงหรือให้อยู่กับต้นอะไรก็เรียกตามชื่อของต้นไม้ที่นำมาเพาะเลี้ยงด้วงชนิดนั้นค่ะ สำหรับวันนี้บ้านน้อยจะนำเสนอเทคนิคขั้นตอนวิธีการเลี้ยงพร้อมสูตรอาหารในการเลี้ยงด้วงสาคูด้วยต้นอ้อยน่ะค่ะ
ส่วนขั้นตอนการจัดการเลี้ยงด้วงสาคู มีขั้นตอนดังนี้
ด้วยลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบเชิงชีวภาพของด้วงสาคู ทำให้เหมาะสำหรับการแปรรูปเป็นอาหารได้หลากหลายวิธี ทั้งทอด นึ่ง และอบ ซึ่งแต่ละวิธีจะทำให้คุณค่าของสารอาหารเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันไป อันดับแรกที่ต้องพูดถึงคือโปรตีน สารอาหารสำคัญที่เป็นจุดขายของด้วงชนิดนี้ คุณพิมพ์เพ็ญและคุณนิธิยาให้ข้อมูลจากการทดลองเพื่อวิเคราะห์คุณค่าของด้วงสาคูไว้ว่า โปรตีนจะลดน้อยลงตามระดับความร้อน ทำให้ด้วงสาคูแบบสด แบบอบ แบบทอด และแบบนึ่ง มีปริมาณโปรตีนจากมากไปน้อยตามลำดับ ขณะที่ไขมันมีเพียงแบบทอดเท่านั้นที่เพิ่มปริมาณสูงขึ้นจากน้ำมันทอด ที่เหลือก็ไล่เลี่ยกันทั้งหมด ปริมาณคาร์โบไฮเดรตจะเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากเมื่อหนอนด้วงผ่านการแปรรูป แต่ก็เป็นคาร์โบไฮเดรตย่อยได้ง่าย สุดท้ายคือเนื้อสัมผัสที่ได้จากการอบจะแห้งที่สุด และแบบทอดจะมีความชื้นมากที่สุด
การเลี้ยงแบบดั้งเดิม โดยใช้ท่อนสาคูหรือท่อนลาน (แบบธรรมชาติ)
ห้ามนำกุ้งเครย์ฟิช ปลาพีค็อกแบส เข้ามาในประเทศ ก่อนได้รับการพิจารณาอย่างละเอียดจากกรมประมง
ข้ามไปเนื้อหา เมนูหลัก เมนูหลัก
เทคนิคการเลี้ยงด้วงในวันนี้จะเป็นการเพาะเลี้ยงในกะละมังและนอกจากใช้ต้นอ้อยสับในการเพาะเลี้ยงแล้วยังสามารถแทนต้นอ้อยสับได้ด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อนได้เช่นเดียวกันค่ะมาดูกันว่ามีวัสดุและขั้นตอนวิธีการเลี้ยงตั้งแต่เริ่มต้นกันเลย วัสดุอุปกรณ์ส่วนผสมในการเตรียมอาหารและที่เพาะเลี้ยงด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าว
วัสดุอะไรก็ได้ที่มีน้ำหนักพอจะทับฝาที่ปิดกะละมัง
นำกิ่งทางปาล์มสดปลอดเปลือกและเข้าเครื่องสับบด
ต้นสาคูบด ขุยมะพร้าว มันสำปะหลัง และเปลือกมะพร้าวสับ
– สถานที่ ด้วงสาคู ควรเป็นที่น้ำไม่ท่วมขัง บริเวณที่เลี้ยงสามารถวางตากแดด ตากฝนได้ แต่ต้องมีกระดานทำจากกาบต้นไม้ที่เลี้ยงครอบปิด